汉字演变史:甲骨文→金文→小篆→隶书→楷书→草书→行书
วิวัฒนาการของอักษรจีน : เจี๋ยกู่เหวิน (อักษรจารบนกระดูกสัตว์)→จินเหวิน(อักษรโลหะ)→เสี่ยวจ้วน(จ้วนเล็ก)→ลี่ซู→ข่ายซู→เฉ่าซู→สิงซู
- 甲骨文是殷商时代的汉字形体,因刻在龟甲、兽骨上而得名。它是现在能见到的最早的成系统的汉字。เจี๋ยกู่เหวินเป็นตัวอักษรในยุคราชวงศ์ชาง สลักอยู่บนกระดองเต่าและกระดูกสัตว์ มีความเก่าแก่ที่สุด
- 金文也叫钟鼎文。商周是青铜器的时代,青铜器的礼器以鼎为代表。金文的字数,据容庚《金文编》记载,共计3722个,其中可以识别的字有2420个。จินเหวินเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจงติ่งเหวิน อยู่ในยุคราชวงศ์ชางโจว พบในภาชนะที่ใช้ในพิธีกรรม มีคำ 3722 คำ สามารถให้ข้อมูลได้ 2420 คำ
- 小篆也叫秦篆,在大篆的基础上省改而成,是秦统一六国后实行“书同文”政策,在全国推行的标准字体。小篆的主要特点是:笔画比大篆简化,以柔婉、圆转的线条构形;形体呈竖长方形,整齐、匀称。เสี่ยวจ้วนเรียกอีกอย่างว่าฉินจ้วน เป็นตัวอักษรพื้นฐานของราชวงศ์ฉิน มีการปรับให้เขียนได้ง่ายขึ้น
- 隶书也叫“隶字”、“古书”。隶书相传为秦末程邈在狱中所整理,去繁就简,字形变圆为方,笔划改曲为直。隶书是在篆书基础上。ลี่ซูเรียกอีกอย่างว่าลี่จึหรือกู่ซู (อักษรทาส) ตำนานของอักษรนี้คือในสมัยปลายราชวงศ์ฉินมีทาสชื่อเฉิงเหมี่ยวถูกจำคุก และได้ปรับปรุงอักษรนี้ให้เขียนง่ายขึ้น จากโครงสร้างกลมเปลี่ยนเป็นสี่เหลี่ยมกลายเป็นอักษรรูปแบบใหม่ เป็นตัวอักษรที่เป็นทางการของฉิน
- 楷书也叫正楷、真书、正书。从隶书逐渐演变而来,更趋简化。”故名楷书。楷书是我国封建社会中最为流行的一种书体,一直沿用至今。ข่ายซูเรียกอีกอย่างว่าเจิ้งข่าย เจินซู เจิ้งซู พัฒนามากจากลี่ซู เขียนง่ายขึ้น นิยมใช้มากสุดและยังใช้อันในปัจจุบัน
- 草书是为了书写便捷而产生的一种书体。特点是结构简省、笔画连绵。形成于汉代。เฉ่าซู อักษรนี้เขียนได้สะดวกขึ้น เขียนง่ายและต่อเนื่องกัน เกิดขึ้นในสมัยฮั่น
- 行书是在楷书的基础上发展起源的,介于楷书、草书之间的一种字体,是为了弥补楷书的书写速度太慢和草书的难于辨认而产生的。从而创立了光照千古的南派行书艺术,成为书法史上影响最大的一宗。从而创立了光照千古的南派行书艺术,成为书法史上影响最大的一宗。สิงซูเกิดจากข่ายซูและเฉ่าซู เป็นการเขียนตัวหวัดอย่างบรรจง