....."สืบศิลป์ แต้มสี" .....

    เจ้าของหน่วยการสอน (Unit Author) : นางสุนทรา ชูศิลป์ทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
หน่วยงานที่สังกัด : กรมสามัญศึกษา
โรงเรียน : สุราษฎร์ธานี
อำเภอ : เมือง จังหวัด : สุราษฎร์ธานี

หากท่านทำแฟ้มสะสมงานเรียบร้อยแล้ว โปรดนำขึ้นวางไว้บนเว็บของ The Intel Teach to the Future Database ท่านต้องการแสดงชื่อของท่านหรือไม่
ต้องการ
ไม่ต้องการ

ภาพรวมของแผนการสอน (Unit over View) : นักเรียนสามารถวาดภาพพุทธประวัติในปางต่าง ๆ มาจัดตกแต่งในการทำพุ่มผ้าป่าประกอบในประเพณีชักพระซึ่งเป็นประเพณีสำคัญของจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ชื่อแผนการสอนของหน่วย (Unit Plan Title : "สืบศิลป์ แต้มสี"


คำถามที่ครอบคลุมหลักสูตร (Curriculum Framing Question) : -
คำถามสาระสำคัญ (Essential Question) : อะไรที่บ่งบอกถึงความเป็นสุราษฎร์ธานี ?
คำถามหน่วยแผนการสอน (Unit Question) : การสืบทอดประเพณี วัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตอย่างไร ?

สรุปเนื้อหาการเรียนรู้ของหน่วย (Unit Summary) : การวาดภาพจินตนาการและการสร้างสรรค์ภาพเขียนจากพุทธประวัติปางต่าง ๆ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ (Subject Area(s)) :
วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์
ภาษาไทย
ภาษาต่างประเทศ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
อื่น ๆ .................................
อื่น ๆ .................................
อื่น ๆ ..................................

ช่วงชั้น / ระดับชั้น :
มัธยมศึกษาปีที่ 1
มัธยมศึกษาปีที่ 4
มัธยมศึกษาปีที่ 2
มัธยมศึกษาปีที่ 5
มัธยมศึกษาปีที่ 3
มัธยมศึกษาปีที่ 6

มาตรฐานของเนื้อหา / วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Content Standard / Benchmarks) บันทึกเรียงตามลำดับเนื้อหา :
มาตรฐาน : -
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม :
1. แสดงออกถึงความรู้สึกในการรับรู้ความงามจากประสบการณ์ จินตนาการ โดยใช้หลักความงามของศิลปะตามความถนัด และความสนใจ
2. เข้าใจความเชื่อทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อการสร้างงานศิลปะ
3. ซาบซึ้ง เห็นคุณค่าศิลปะ วัฒนธรรมไทย มีส่วนร่วมในการสร้างงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย


จุดประสงค์ที่ต้องการให้นักเรียนเป็น / ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Student Objective / Learning Outcomes) ลำดับความสำคัญของเนื้อหาและวัตถุประสงค์ :
1. การเขียนแผนภาพจินตนาการงานประเพณีชักพระ
2. การเขียนภาพจินตนาการและสร้างสรรค์จากพุทธประวัติ
3. ชื่นชมและวิจารณ์ผลงาน

ขั้นตอนและวิธีการเรียนรู้ (Procedures) ขอบเขตการเรียนรู้ ความต่อเนื่องและการวางแผนการจัดกิจกรรมในการเรียนการสอน :
1. เขียนแผนภาพความคิดจากจินตนาการในงานประเพณีชักพระ
2. อธิบายความหมายและเรื่องราวจากภาพพุทธประวัติปางต่าง ๆ ที่นำมาจัดตกแต่งพุ่มผ้าป่า
3. สื่อความคิด จินตนาการจากประสบการณ์การอ่านพุทธประวัติ
4. สร้างสรรค์ภาพเขียนจากการตีความพุทธประวัติ
5. เสนอผลงานด้วยรูปแบบใหม่ ๆ ตามความพอใจ
6. นำความรู้และการเขียนภาพจากพุทธประวัติไปใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ
7. ชื่นชมคุณค่าของภาพที่สัมพันธ์กับพุทธประวัติ

เวลาที่ใช้ในแผนการสอน (Approximate Time Needed) : 2 คาบ (ค้นคว้านอกเวเลเรียนภายใน 2 สัปดาห์)

ทักษะพื้นฐานนักเรียน (Prerequiste Skills) ความรู้และทักษะพื้นฐานด้านเทคโนโลยีของนักเรียนก่อนทำการศึกษาในแผนการสอนนี้ :
1. ความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์
2. ความรู้พื้นฐานในการนำเสนอผลงาน


องค์ความรู้และแหล่งทรัพยากรที่จำเป็นสำหรับหน่วยการสอน (Material and Resource Required for Unit) :
เทคโนโลยี - เครื่องมือ - อุปกรณ์ (Technology - Hardware) :
กล้องถ่ายรูป
คอมพิวเตอร์
กล้อง Digital
เครื่องเล่น DVD
Internet

Laser Disk
Printer
เครื่องฉายภาพ
Scanner
โทรทัศน์

เครื่องเล่น Video
กล้อง Video
อื่น ๆ .................................

เทคโนโลยี - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ - สื่อต่าง ๆ
ระบบฐานข้อมูล
สิ่งพิมพ์
E - mail
เอนไซโคลมีเดีย
ภาพและกราฟิก
Internet
สื่อผสม
การพัฒนาเว็บ
พิมพ์เอกสาร
อื่น ๆ ..................................

สิ่งพิมพ์ (Printed Material) ระบุตำรา หนังสืออ่านประกอบ หนังสืออ้างอิง ฯลฯ :
1. ปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์. (2542) คอมพิวเตอร์กราฟิคส์สำหรับนักออกแบบ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. วิรุณ ตั้งเจริญ. (2545) ออกแบบกราฟิค. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ดีแอนด์ไอคิว.

วัสดุ - อุปกรณ์ (Supplies) ระบุเครื่องมือ อุปกรณ์ที่สนับสนุนในการทำงาน :
1. ตัวอย่างภาพพุทธประวัติปางต่าง ๆ
2. ตัวอย่างภาพการจัดพุ่มผ้าป่า
3. ตัวอย่างแผนพับ "ประเพณีชักพระ"
4. ตัวอย่างงานสิ่งพิมพ์ "ลายศิลป์"
5. ตัวอย่างสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ
6. กระดาษวาดเขียน 100 ปอนด์ ขนาด 11 x 15 นิ้ว
7. สีน้ำ / สีโปสเตอร์ / สีชอล์ก
8. พู่กันเบอร์ 10
9. ภาชนะใส่น้ำ
10. ผ้าสำหรับทำความสะอาด

ศูนย์ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ต (Internet Resources) ระบุ website (URLs) ที่ช่วยในการนำไปเผยแพร่ผลงาน :
http://www.st.ac.th

อื่น ๆ (Other) การประชาสัมพันธ์ ที่ปรึกษา วิทยากร การเรียนนอกสถานที่ : -

การอำนวยความสะดวกต่าง ๆ เพื่อจัดการศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ (Accommodations for Differentialed Instruction) : -
แหล่งเรียนรู้ของนักเรียน (Resource Student) : -

การให้ความช่วยเหลือด้านภาษา (Non-Native English Speaker) ผู้ช่วยเหลือด้านภาษาและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน : -

คุณสมบัติของนักเรียน (Student Assessment) มาตรฐานและวิธีการคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษา เช่น การสัมภาษณ์ การสังเกต การพรรณนา การทดสอบเพื่อประเมินความพร้อม (กรณีที่มี) : -

การค้นหาคำอธิบายคำศัพท์ (Key Word Serch) : -
คำศัพท์ในแผนการสอน (Key Words) : -